tigerandthistle.net

หัวใจ ของ คน

lv-neverfull-pm-ราคา
เปิด "หัวใจ" คนไร้บ้าน มองเรื่อง "คนไร้บ้าน" ผ่านแว่นจิตวิทยา กับดร. เจนนิเฟอร์ ชวโนวานิช อาจารย์ประจำคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง: ธารริน อดุลยานนท์ "คนไร้บ้าน" คือประเด็นที่เราเรียนรู้และทำความเข้าใจได้จากหลายมุมมอง หนึ่งในนั้นคือมุมมองจากด้านจิตวิทยาซึ่งเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับจิตใจคน เพราะเมื่อพูดถึงเรื่องนี้ คำสำคัญคำหนึ่งที่เชื่อมโยงอยู่ด้วยกันคือ "หัวใจ" หนึ่งแง่มุมสำคัญที่น่าสนใจคือ เมื่อลืมตาตื่นแล้วพบว่าตัวเองกลายเป็นคนไร้บ้าน นอกจากร่างกายที่ต้องเผชิญความยากลำบาก หัวใจของเราก็เช่นกัน วันนี้เราจึงชวนดร. เจนนิเฟอร์ ชวโนวานิช หรืออาจารย์เจนนิเฟอร์จากคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งในทีมงานของแผนงานพัฒนาองค์ความรู้ฯ คนไร้บ้าน สสส. มานั่งพูดคุยเรื่อง "คนไร้บ้าน" ในมุมมองจิตวิทยา เมื่อลองสวมแว่นนี้มอง "คนไร้บ้าน" รับรองว่าคุณจะเข้าใจพวกเขามากขึ้นกว่าเดิม พวกเขาที่มีหัวใจไม่ต่างจากเรา #PenguinHomeless #คนไร้บ้าน #Homeless #HumanofStreet ในมุมมองเชิงจิตวิทยา "บ้าน" หมายถึงอะไรและสำคัญกับคนยังไง?
  1. 'วันหัวใจโลก' วันสำคัญของคนเป็นโรคหัวใจ - Samyan Mitrtown
  2. หัวใจของคนโบราณ
  3. Heart By Heart The Series ให้หัวใจเป็นคนจำ - YFLIX
  4. เปิด "หัวใจ" คนไร้บ้าน - Penguin Homeless

'วันหัวใจโลก' วันสำคัญของคนเป็นโรคหัวใจ - Samyan Mitrtown

คัดลอกลิงค์ คัดลอกลิงค์ ความคิดเห็น กรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อทำการคอมเม้นต์

หัวใจของคนโบราณ

Heart By Heart The Series ให้หัวใจเป็นคนจำ - YFLIX

  1. หัวใจของคน (ธรรมดา) ในซีรีส์ Hospital Playlist
  2. ในความทรงจำ THE CLASSIC : คนแรกของหัวใจ คนสุดท้ายของชีวิต (2003) เหตุผลที่ว่า ทำไม THE CLASSIC ถึง CLASSIC | TrueID In-Trend
  3. 'วันหัวใจโลก' วันสำคัญของคนเป็นโรคหัวใจ - Samyan Mitrtown

เปิด "หัวใจ" คนไร้บ้าน - Penguin Homeless

หัวใจของคนโบราณ bdo
50 น. แต่หมออีอิกจุนได้ถามหมอที่มาจากโรงพยาบาลคังอุนว่าจะต้องรีบรับอวัยวะหรือไม่ ถ้าไม่จะขอเลื่อนการผ่าตัดไปอีกสิบนาที พร้อมบอกเหตุผลว่า "วันนี้เป็นวันเด็ก ผมไม่อยากให้ลูกของเขาจะต้องมานั่งร้องไห้ทุกวันเด็ก และไม่ได้สนุกกับวันเด็กเหมือนกับคนอื่นๆ" ฉากนี้จบลงด้วยการประกาศต่อภรรยาคนไข้ว่า ผู้บริจาคอวัยวะได้จากไปเมื่อเวลา 00. 05 น.

อาการเหนื่อย ผู้ป่วยจะหายใจเร็วและตื้น ทำกิจกรรมได้อย่างจำกัด อาจมีอาการเป็นมากขึ้นตอนนอนราบ ทำให้นอนราบไม่ได้เมื่อนั่งหรือหนุนหมอนสูงแล้วจะดีขึ้น อาจมีอาการขาบวมร่วมด้วย 3. อาการเขียว เกิดจากออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงลดลง อาจมีภาวะเขียวให้เห็นได้ทั้งที่ริมฝีปาก ใบหน้า หรือ ปลายมือปลายเท้า 4. อาการใจสั่น อาการที่ผู้ป่วยรู้สึกว่าหัวใจของตนเต้นไม่สม่ำเสมอ เต้นเร็วหรือช้ากว่าปกติ อาจเป็นชั่วคราวและหายเองหรือเป็นตลอดเวลา อาจมีอาการหน้ามืด วูบ ร่วมด้วย 5. อาการวูบ หน้ามืด หรือหมดสติ อาจกินเวลาเพียงเสี้ยววินาที หรือเป็นนาทีได้ มีภาวะชักเกร็งได้หลังจากฟื้นรู้ตัว ผู้ป่วยมักจะกลับเป็นปกติ ไม่มีอาการแขนขาอ่อนแรงใดๆ วิธีการป้องกันโรคหัวใจและปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ได้แก่ 1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หลีก เลี่ยงกิจวัตรที่ต้องนั่งเฉย ๆ เป็นระยะเวลานาน เช่น นั่งหน้าทีวีเป็นระยะเวลานาน ควรออกกำลังกาย เช่น เดินเร็ว วิ่ง หรือแอโรบิก อย่างน้อย30นาทีต่อครั้ง 5 วันต่อสัปดาห์ หรือ 150นาทีต่อสัปดาห์ 2. ควบคุมน้ำหนัก โดย วัดรอบเอวอย่างสม่ำเสมอ (ในคนเอเชียผู้ชาย ไม่เกิน 90 ซ. ม. ผู้หญิงไม่เกิน 80 ซ. ) และคิดคำนวณ BMI (นน. เป็นกิโลกรัมหารส่วนสูงเป็นเมตรยกกำลังสอง) รักษาค่า BMI ให้อยู่ในระดับปกติเสมอคือ 18.

Sunday, 7 August 2022